ท้าวเวสสุวรรณ เทพเจ้าแห่งยักษ์ เป็นหนึ่งในจาตุมหาราช

April 12, 2019 shantideva 0

ท้าวกุเวร หรือ ท้าวเวสสุวรรณ เป็นเทพเจ้าแห่งยักษ์ เป็นหนึ่งในจาตุมหาราช ผู้คุ้มครองและดูแลโลกมนุษย์ สถิตอยู่บน สวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา ทรงอิทธิฤทธิ์อานุภาพมากประทับ ณ โลกบาลทิศเหนือ คนไทยโบราณนิยมนำผ้ายันต์รูปยักษ์ผูกไว้ที่หัวเตียงเด็กเพื่อป้องกันวิญญาณชั่วร้ายไม่ให้มารังควานแก่เด็ก

พระพิรุณ เทพเจ้าแห่งฝน

April 12, 2019 shantideva 0

พระพิรุณ หรือ พระวิรุณ หรือ พระวรุณ เป็นเทพเจ้าแห่งฝน ตามคติของศาสนาฮินดู เป็นโลกบาลทิศประจิม (ทิศตะวันตก) มีผิวสีขาวผ่อง ถือบ่วงบาศและอาโภค ทรงจระเข้เป็นพาหนะ (หรือนาค หรือมกร) ในหนังสือพระนลคำหลวง พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวระบุว่า พิรุณเป็นนามของพระสุริยะ เป็นลูกนางอทิติ

พระพรหม

พระพรหม หนึ่งในตรีมูรติ (ตรีเทพ)

April 11, 2019 shantideva 0

พระพรหม (สันสกฤต: ब्रह्मा พฺรหฺมา; อังกฤษ: Brahma; เตลูกู: బ్రహ్మ; ) เป็นเทพเจ้าสูงสุด (ตรีมูรติ) ในคติของศาสนาฮินดู เป็นเทพเจ้าแห่งการสร้างสรรค์ ความเมตตา เป็นพระผู้สร้างโลกและให้กำเนิดสิ่งต่าง ๆ ในจักรวาล และให้กำเนิด คัมภีร์พระเวท พระพรหม มีสี่พักตร์ พระศอสวมลูกประคำ พระหัตถ์แต่ละข้างถือดอกบัว, คัมภีร์ และหม้อน้ำ

พระพิฆเนศ

พระพิฆเนศ มหาเทพแห่งปัญญา (องค์ปฐมบูชา)

April 11, 2019 shantideva 0

พระคเณศ (สันสกฤต: :ेशทมิฬ: อังกฤษ்ளையார்อังกฤษ: พระพิฆเนศ) ชาวไทยนิยมเรียกดูพระพิฆเนศ (शिघ्नेश) พระพิฆเณเ สำเร็จทั้งยังทรงเป็นเทพแห่งศิลปวิทยาการและการประพันธ์ทรงเป็นหัวหน้าคณะ ในประเทศไทยจะเห็นได้ว่ามีการบูชาเทพต่าง ๆ ในศาสนาพราหมณ์อยู่มากมายรวมทั้งพระพิฆเนศที่มีคนไทยมาช้านาน

พระนารายณ์ “พระวิษณุ” หนึ่งในตรีมูรติ (ตรีเทพ)

April 10, 2019 shantideva 0

นารายณ์ (สันสกฤต: नारायण; ความหมาย: ผู้ที่ได้เคลื่อนไหวอยู่ในน้ำ) เป็นพระนามหนึ่งของ พระวิษณุ แต่ทว่าชาวไทยส่วนใหญ่จะคุ้นเคยกับพระนามว่า พระนารายณ์ มากกว่า เหตุที่มีพระนามแตกต่างกัน เนื่องจากมีบางคัมภีร์ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเล่าว่า เดิมทีมีเทพเจ้าเพียงองค์เดียว คือ พระนารายณ์ ซึ่งเรียกว่าปรพรหม

หนุมาน

หนุมาน (Hanuman) ลิงเผือกที่มีฤทธิ์มาก

April 10, 2019 shantideva 0

หนุมาน (Hanuman) เป็นตัวละครเอกตัวหนึ่งในเรื่องรามเกียรติ์ เป็นลิงเผือก จึงมีสีขาวเป็นสีประจำกาย เมื่อสำแดงฤทธิ์จะมี 4 หน้า 8 มือ หาวเป็นดาวเป็นเดือน นอกจากนี้ ยังมีลักษณะประจำกายอื่น ๆ อีก เช่น สวมกุณฑล มีขนเพชร มีเขี้ยวเป็นแก้ว และ หาวเป็นดาวเป็นเดือน ดังกลอนตอนที่หนุมานเกิดว่า ลอยอยู่ตรงพักตร์ชนนี รัศมีโชติช่วงในเวหา

การสร้างบารมีของพระพุทธเจ้า

การสร้างบารมีของพระพุทธเจ้า

April 9, 2019 shantideva 0

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ๓ ประเภท จำแนกตามความยิ่งหย่อนของปัญญา ศรัทธา และ วิริยะ คือ ๑. ผู้ที่เป็นปัญญาธิกะ ยิ่งด้วยปัญญา สะสมบารมีน้อยที่สุดคือ ๔ อสงไขยแสนกัปป์ ๒. ผู้ที่เป็นสัทธาธิกะ ยิ่งด้วยศรัทธา

พระศิวะ

พระศิวะ หนึ่งในตรีมูรติ (ตรีเทพ)

April 9, 2019 shantideva 0

พระศิวะหรือพระอิศวร (สันสกฤต: शिव; อังกฤษ: พระอิศวร) หนึ่งในตรีมูรติหรือเทพเจ้าสูงสุดสามองค์ (ตรีเทพ) ตามความเชื่อในศาสนาฮินดู (อีกสององค์และพระวิษณุ) พระศิวะทรงมีรูปทรงเป็นชายหนุ่มร่างกำพร้าวรรณะขาว (สีผิวขาว) นารายณ์หนังเสือเหมือนฤๅษีมีสัมพันธวาล์เป็นลูกประคำหรือแพทย์มนุษย์มีงูเห่า

มหาทานติณบาล

มหาทานติณบาล

April 8, 2019 shantideva 0

เมื่อครั้งพุทธกาล มีชายยากไร้ผู้หนึ่งนามว่า ติณบาล เป็นคนยากจน อาสาเป็นลูกจ้างทำสวนหญ้าให้เศรษฐี ทำหน้าที่ตัดหญ้าบริเวณบ้าน อยู่มาวันหนึ่งเขาคิดว่าเรานี้เป็นคนยากจนเพราะไม่เคยทำบุญอันใดไว้ในชาติก่อนเลย เกิดมาชาตินี้จึงเป็นคนรับใช้ ไร้ญาติขาดมิตร

พระโพธิสัตว์ นิกายมหายาน

April 8, 2019 shantideva 0

พระโพธิสัตว์ คือบุคคลที่บำเพ็ญบารมีเพื่อตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต พระโพธิสัตว์สำคัญตามความเชื่อของศาสนาพุทธนิกายมหายาน พระยูไล คือองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวจีน องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์เป็นผู้ไกลจากกิเลส

ต้นพระศรีมหาโพธิ์

ต้นพระศรีมหาโพธิ์

March 31, 2019 shantideva 0

ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เป็นต้นโพที่พระโคตมพุทธเจ้าเคยประทับและตรัสรู้ ดังปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาว่าต้นโพธิ์เปรียบได้กับพุทธอุเทสิกเจดีย์อย่างหนึ่ง ทำให้พันธ์ุต้นโพธิ์กลายเป็นพันธ์ไม้ที่เป็นที่เคารพนับถือของชาวพุทธเสมอมานับแต่สมัยพุทธกาล

พระโพธิสัตว์คือใคร-01

พระโพธิสัตว์คือใคร

March 27, 2019 shantideva 0

ความหมายของคำว่าพระโพธิสัตว์ ในพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทนั้นพระโพธิสัตว์คือบุคคลผู้บำเพ็ญบารมีธรรมอุทิศตนช่วยเหลือสัตว์ผู้มีความทุกข์ยากและจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตพุทธศาสนาฝ่ายมหายานเรียกบุคคลเช่นนี้ว่าเป็นผู้มีพลังหรืออำนาจมุ่งสู่โพธิญาณ

หลักคำสอนสำคัญของศาสนาพุทธ

หลักคำสอนสำคัญของศาสนาพุทธ

March 23, 2019 shantideva 0

หลักคำสอนสำคัญของศาสนาพุทธ ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ เป็นหัวใจหลักของพระพุทธศาสนา ที่สรุปคำสอนทั้งหมดไว้ในหลักอันนี้ ประกอบด้วย1.1ทุกข์ ได้แก่ ความไม่สบายกาย ไมสบายใจ ความคับแค้นในใจ ความไม่ประสบสิ่งปรารถนา ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นต้น

คริสต์ศาสนา

ศาสนาคริสต์

March 23, 2019 shantideva 0

ศาสนาคริสต์ ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนา เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของ พระเยซู ตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่นๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน

ศาสนาอิสลาม

ศาสนาอิสลาม

March 23, 2019 shantideva 0

ศาสนาอิสลาม เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่